วันอังคารที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2555


หน่วยที่ 5  โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์    

           ระบบ Network และ Internet   (06/08/55)


                    โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ ดังนี้
การทำงานของระบบ Network และ Internet  
โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
       1. เครือข่ายเฉพาะที่ ( Local Area Network : LAN ) เป็นเครือข่ายที่มักพบในองค์กรโดนส่วนใหญ่ ลักษณะการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นวง LAN จะอยู่ในพื้นที่ใกล้ๆ กัน เช่น อยู่ภายในอาคาร หรือ หน่วยงานเดียวกัน
        2. เครือข่ายการเมือง  ( Metropolitan Area Network : MAN )  เป็นกลุ่มของเครือข่าย LAN ที่นำมาเชื่อยมต่อกันเป็นวงที่ใหญ่ขึ้น ภายในบรเวณพื้นที่ใกล้เคียง เช่นในเมืองเดียวกันเป็นต้น
        3. เครือข่ายบริเวณกว้าง  ( Wide Area Network : WAN )  เป็นเครือข่ายที่ใหญ่ขึ้นไปอีกระดับโดยเป็นการรวมเครือข่ายทั้ง  LAN และ MAN มาเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายเดียวกัน ดังนั้นเครือข่ายนี้ จึงครอบคลุมพื้นที่กว้าง โดยมีการครอบคลุมไปทั่วประเทศ หรือทั่วโลก เช่น  อินเตอร์เน็ต ซึ่งถือเป็นเครื่อข่ายสาธารณะที่ไม่มีใครเป็นเจ้าของ
    รูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย Network Topology
           การจัดระบบการทำงานของเครือข่าย มีรูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย อันเป็นการจัดวางคอมพิวเตอร์ และการเดินสายสัญญาณคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย รวมถึงหลักการไหลเวียนข้มูลในเครือข่ายด้วย โดย แบ่งโครงสร้างเครือข่ายหลักได้ 4 แบบ คือ 
                                       
        1. แบบดาว ( Star Network  )  เป็นการต่อสายเชื่อมโยงโดยการนำสถานีต่างๆ  มาต่อรวมกันเป็นหน่วยสลับสายกลาง การติดต่อสื่อสารระหว่างสถานีจะกระทำได้ด้วยการติดดต่อผ่สนทางวงจรของหน่วย สลับสายกลาง การทำงานของหน่วยสลับสายกลางจึงคล้ายกัยศูนย์กลาง
                    ลักษณะการทำงาน 
เป็นการเชื่อมโยงสื่อสารคล้ายดาว หลายแฉก  โดยมีสถานีกลาง หรือฮับ เป็นจุดผ่านการติดต่อ กันทุกโหนดในเครือข่าย สถานีกลางจึงมีหน้าที่เป็นศูนย์ควบคุมเส้นทางการสื่อสารทั้งหมด  และยังทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางคอยจัดส่งข้อมูลให้กับโหนดปลายทางอีกด้วย   การสื่อสารจัดเป็น 2 ทิศทางโดยจะอณุญาตให้มีเพียงโหนดเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลเข้าสู่ เครือข่ายได้ จึงไม้มีโอกาศที่หลายๆ โหนดจะส่งข้อมูลเข่าสู่เครือข่ายในเวลาเดียวกัน เพื่อป้องกันการชนกันของสัณญาณข้อมูล  เครือข่ายแบบบดาว เป็นรูปแบบเครือข่ายหนึ่งที่เป็นที่นิยมกันในปัจจุบัน





          2.  แบบวงแหวน  ( Ring  Network  )                 เป็นแบบที่สถานีของเครือข่ายทุกสถานีจะต้องเชื่อมต่อกับเครือข่ายสัญญารของ ตัวเองโดยจะมีการเชื่อมโยง ของสัญญาณของทุกสถานีเข้าด้วยกันเป็นวงแหวน เครือข่านสัญญาณเหล่านี้จะมีหน้าที่มนการรับข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ของ ตัวเอง หรือจากเครือข่ายสัญญาณตัวก่อนหน้า และส่งข้อมูลต่อไปยังเครือข่ายสัญญาณตัวถัดไปเรื่อยๆ เป็นวง หากข้อมูลที่ส่งเป็นของสถานีใด
              

3.เครือข่ายแบบบัส  ( Bus Network )   เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่างๆ ด้วยสายเคเบิ้ลยาว ต่อเนื่องไปเรื่ยๆๆ โดยจะมีอุปกรณืที่เป็นตัวเชื่อมต่ออุปกรณืเข้ากับสายเคเบิล ในการส่งข้อมูล จะมีคอมพิวเตอร์เพียงตัวเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งได้ในช่วงเวลาหนึ่งๆ การจัดส่งข้อมูลวิธีนี้ จะต้องกำหนดวิธี  ที่จะไม่ให้ทุกสถานีส่งข้อมูลพร้อมกัน  เพราะจะทำให้ข้อมูลชนกันลา หรือให้แต่ละสถานีใช้ความถี่ สัญญาณที่แตกต่างกัน ในการติดตั้งเครือข่ายแบบบัสนี้ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์แต่ละชนิด ถ฿กเชื่อมต่อมต่อด้วยสายเคเบิ้ลเพียงเส้นเดียว
   อุปกรณ์ทุกชิ้นหรือโหนดทุกโหนด ในเครือข่ายต้องเชื่อมโยงเข้ากับสายสื่อสารหลักที่เรียก ว่า   บัศ   BUS   เมื่อโหนดหนึ่งต้องการจะส่งข้อมูลไปให้ยังอีกโหนดหนึ่ง ภายในเครือข่าย  จะต้องตรวจสอบว่าบัสง่างหรืไม่  ข้อมูลจะวิ่งผ่านโหนดไปเรื่อยๆๆ ในขณะที่แต่ละโหนดก็จะตรวจสอบว่าเป็นว่าเป็นของตนเองหรืไม่หากไม่ใช่ก็จะ ปล่อยให้วิ่งไปเรื่อยๆๆ
                 
             


                4.เครือข่ายแบบต้นไม้  ( Tree  Network ) เป็นเครือข่ายที่มีการผสมผสานโครงสร้างเครือข่ายแบบต่างๆ เข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ การจัดส่งข้อมูลสามารถส่งไปถึงได้ทุกสถานี  การสื่อสารข้อมูลจะผ่านตัวกลางไปยังสถานีอื่นๆ ได้ทั้งหมด เพราะทุกสถานีจะอยู่บนทางเชื่อม รับส่งข้อมูลเดียวกัน





การประยุกต์ใช้งานของระบบคอมพิวเตอร์
         ระบบเครือข่ายทำให้เกิดการสื่อสาร และการแบ่งปันการใช้ทรัพยากรระหว่างเครือข่าย รูปแบบการใช้งาน  แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
1. ระบบเครือข่ายแบบศูนย์กลาง  ( Centrallised   Network )
2.ระบบเครือข่ายแบบ  ( Pee-to Pee)
3. ระบบเครือข่ายแบบ Client/Server
1. ระบบเครือข่ายแบบศูนย์กลาง  ( Centrallised   Network  )  เป็นระบบที่มีเครื่องหลักเพียงเครื่องเดียวที่ใช้ในการประมวลผล ตั้งอยู่ที่ศูนย์กลาง และมีการรรเชื่อมต่อไปยังเครื่องเทอร์มินอลที่อยู่รอบๆ ใช้การเดินสายเคเบิ้ล เชื่อมต่อกันโดยตรง เพื่อให้เครื่องเทอร์มินนอลสมารถสเข้าใช้งานโดยคำสั่งต่าง มาประมวลผลที่เครื่องกลาง ซึ่งมักเป็นเครืองคอมพิวเตอร์เมนเฟรมประสิทธิภาพสูง
2.ระบบเครือข่ายแบบ  ( Pee-to Pee  )   แต่ละสถานีงานบนระบบเครือข่ายสถานีเจะเท่าเทียมกัน สามรถที่จะแบ่งบันทรัพยากรให้แก้กันและกันได้ เช้นการใช้เครื่องพิมพ์ หรือ แฟ้มข้อมูลร้วมกันในเครือข่ายนั้นๆ  เครื่องแต่ละเคื่องมีขีด และความสารถได้ด้วยตนเอง  คือจะมีทรัพยากรภายในตัเอง เช่น ดิสก์สำหลับเก็บข้อมูล หน่วยความจำที่เพียงพอ
3. ระบบเครือข่ายแบบ ( Client/Server  ) สามารถสนับสนุนให้มีเครื่องลูกข่ายได้เป็นจำนวนมาก และสามรถเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้หลายสถานี ทำง่นโดยมีเครื่อง Server ที่ให้บริการเป็นศูนย์กลางอย่างน้อย 1 เครื่อง และมีการบริหารจัดการทรัพยากรต่างๆ จากส่วนกลาง ซึ่งคล้ายกับระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลาง  แต่สิ่งที่แตกต่างกันคือ  เครื่องที่ทำหน้าที่ให้บริการในระบบ Client/Server ราคาไม่แพงมากนัก  ซึ่งอาจใช้เพียงเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ สมถนะสูงในการควบคุมการให้บริการ ทรัพยากรต่างๆ 
   นอกจากนี้เครื่องลูกข่ายยังจะต้องมีความสามรถในการประมงลผล และมีพื้นที่สำหลับเก็บข้อมูลท้องถิ่นเป็นของตัวเอง

             ระบบเครื่อข่ายแบบClient/Server เป็นระบบที่มีความยืดหยุ่น สนับสนุนการทำงานแบบ Multiprocessor  สามารถเพิ่มขยายขนาดของจำนวนผู้ใช้ได้ตามต้องการ นอกจากนี้ยังสามารถเพิ่มจำนวนเครื่องได้

วันที่ 30 /07/2555

ซอฟต์แวร์ประยุกต์  (Application Software)

2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
           ซอฟต์แวร์ ที่ใช้ทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้งานเฉพาะด้าน เช่น การจัดพิมพ์รายงาน การนำเสนองาน การจัดทำบัญชี การตกแต่งภาพ หรือการออกแบบเว็บไซต์ เป็นต้น

ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์

แบ่งตามลักษณะการผลิด  จำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ 
1. ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ ( Proprietary Software)
2.ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้ทั่วไป มีทั้งโปรแกรมเฉพาะ packaged  Software และโปรแกรมมาตรฐาน (Standard Package)
ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์
 แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน  จำแนกออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้
 1. กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ Business
2. กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิก และมัลติมีเดีย  Graphic and Multimedia
3. กลุ่มการใช้งานบนเว็บ wed

กลุ่มการใช้งานด้านธุรกิจ Business
        ซอฟต์แวร์ กลุ่มนี้ถูกนำมาใช้โดยมุ่งหวังในด้านการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การจัดพิมพ์รายงานเอกสาร การนำเสนองาน และการบันทึกนัดหมายต่างๆ ตัวอย่างเช่น

-โปรแกรมประมวลผลคำ อาทิ Microsoft Word , Sun Star Office Writer
-โปรแกรม ตารางคำนวณ อาทิ  Microsoft Excel , Sun  Star Office Cals
-โปรแกรมนำเสนอ อาทิ Microsoft  PowerPoint,  Sun  Star Office Impress

กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิก และมัลติมีเดีย  Graphic and Multimedia
       ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช้วยจัดการด้านงานกราฟิกและมัลติมี เดีย  เพื่อให้งานง่ายขึ้น เช่น ใช้ตกแต่ง วาดภาพ ปรับเสียง ตัดต่อ ภาพเคลื่อนไหว และการสร้างและออกแบบเว็บไซต์  ตัวอย่างเช่น

-โปรแกรมงานออกแบบ อาทิ Microsoft Visio  , Professional
-โปรแกรมตกแต่งภาพ อาทิ  Corel IDRAW, Adobe Photoshop
-โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ และเสียง อาทิ  Adobe Premiere, Pinnacie Studio DV
-โปรแกรมสร้างสือมัลติมีเดีย  อาทิ Adobe Authorware , Toolbook Instructor. Adobe Director
-โปรแกรมสร้างเว็บ อาทิ Adobe Flash, Adobe  Dreamweaver
 กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
      เมื่อเกิดการเติบโตของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ได้ถูกพัฒนา เพื่อใช้งานเฉพาะเพิ่มมากขึ้น เช่นโปรแกรมการตรวจเซ็คอีเมล  การท่องเว็บ การจัดการการดูแลเว็บ การส่งข้อความติดต่อสื่อสาร การประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย ตัวอย่างเช่น

-โปรแกรมจัดการอีเมล อาทิ Microsoft Dutlook, Mozzila THunderdird
-โปรแกรมท่องเว็บ อาทิ Microsoft Internet Explorer, Mozzila Firefox
-โปแกรม ประชุมทางไกล ( Video Confernce) อาทิ Microsoft Netmeeting
-โปรแกรมส่งข้อความด่วน (Internet  Messaging) อาทิ MSN  Messager/ Windows Messager, ICQ
-โปรแกรมสนทนาบนอินเตอร์เน็ต อาทิ  PIRCH , MIRCH
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์

            การใช้ภษาเครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้ จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอั้กษรื เป็นประโยคข้อความ  ภาษาในลักษณะดังกล่าว นี้เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ระดัยสูง     ภาษาระดับสูงมีอยู่มากมายบางภาษามีความหมายเหมาะสมกับการใช้สั่งงานการคำนวณ ทางคณิตศาตร์ และวิทยาศาสตร์ บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางด้านการจัดการข้อมูล
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
           เมื่อมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงานมนุษย์จะต้องบอกขั้นตอน วิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบการที่บอกสิ่งที่มนุษย์เข้าให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และทำงานได้อย่างถูกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลาง
      ถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวันแล้ว  เรามีภาษาที่ใช้ในการติดต่อซึ่งกันและกัน เช่นเดียวกันถ้ามนุษย์ ต้องการจะถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และปฎิบัติตามจะต้องมีสื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้ เราเรียกสื่อกลางนี้ว่า  ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ ในแต่ละยุค ประกอบด้วย
   ภาษาเครื่อง  
      เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้าใช้แทนด้วยตัวเลข 0 และ 1 ได้ ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข 0 และ 1 เป็นรหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ รหัสแทนข้อมูลและคำสั่งโดยใช้ระบบตัวเลขฐานสองนี้ คอมพิวเตอร์สามารถ เข้าใจได้ เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่ง และใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ ว่า ภาษาเครื่อง
          การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันทีแต่มนุษย์ผู้ใช้จะมี ข้อยุ่งยากมาก  เพราะเข้าใจ และจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาเครื่องขึ้น
ภาษาแอสเซมบลี
    เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่  2 ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลี ช่วยลดความยุ่งยากในการเขียโปรแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพืวเตอร์
      แต่อย่างไรก็ตามภาษาแอสเซมบลี ก็ยังมีความใกล้เคียงกับภาษาเครื่องอยู่มาก และจำเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษา ที่เรียกว่า ภาษาแอสเซมเลอร์
  ภาษาระดับสูง   ( High-Level Languages )
    เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 3  เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า   Statements  ที่มีลักษณะที่เป็นประโยคภาษาอังกฤษ  ทำให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุด คำสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานง่ายขึ้น  ผู้คนทั่วไปสามารถเรียนรู้ และเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เนื่องจากภาษาระดับสูงใกล้เคียงกับภาษามนุษย์  ตัวแปลภาษาระดับสูงเพื่อให้เป็นภาษาเครื่องนั้น มีอยู่ 2 ชนิด คือ
คอมไพเลอร์  ( Compiler ) และ   อินเทอร์พรีเตอร์   ( Interpreter )
คอมไพเลอ  จะทำการแปลโปแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อน แล้งจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น
อินเตอร์พรีเตอร์   จะทำการแปลทีละคำสั่งบ  แล้วให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้น เมื่อทำเสร็จแล้วจึงมาทำการแปลคำสั่งลำดับต่อไป
    ข้อแตกต่าง   คอมไพเลอร์ กับอินเตอร์พรีเตอร์ จึงอยู่ที่การแปลทั้งโปรแกรม หรือแปลทีละคำสั่ง

วันจันทร์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

คอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องมือหรืออุปกรณ์ประเภทอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานด้วยคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือโปรแกรมต่างๆสามารถเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายได้หลายแบบ ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ คือมีศักยภาพสูงในการคำนวรประมวลผลข้อมูล ทั้งที่เป็นตัวเลข รูปภาพ และเสียง
ส่วนประกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ฮาร์แวร์
หมายถึง ส่วนที่ประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น5ส่วน คือ
ส่วนที่1หน่วยรับข้อมูลเข้า (input unit)
  เป็นวัสดุอุปกรณ์ที่นำมาเชื่อมต่อ ทำหน้าที่เป็นสัญญาณเข้าสู่ระบบ เพื่อกำหนดให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามความต้องการ ได้แก่
-เป็นอักขระ(keyboard)
-แผ่นซีดี(CD-Rom)
-ไมโครโฟน(Microphone)เป็นต้น
ส่วนที่ 2 หน่วยประมวลผลกลาง(Central Processing Unit) – CPU
          ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคำนวณทั้งทางดารรกและคณิตศาสตร์ รวมถึงการประมวลข้อมูลตามคำสั่งได้รับ
ส่วนที่ 3 หน่วยความจำ  (Memory Unit)
          ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่งที่มาจากหน่วยรับข้อมูล เพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลยังหน่วยประมวลกลาง และเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลแล้วเตรียมส่งไปยังหน่วยแสดง
 ส่วนที่ 4 หน่วยแสดงผล (Output Unit)
           ทำหน้าที่แสดงข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล หรือผ่านการคำนวณแล้ว
ส่วนที่5 อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆ (Peripphral Equipment) 
          เป็นอุปกรณ์ที่นำมาต่อพ่วงเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยประสิทธิในการทำงานให้มากยิ่งขึ้น เช่น   โม (moclem) แผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย เป็นต้น
ประโยชน์คอมพิวเตอร์
1.มีความเร็วในการทำงานสูง สามารถประมวลผลคำสั่งได้รวดเร็วชั่ววินาที จึงใช้งานคำนวณต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว
2.มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง ทำงานได้ตลอด 24 ชั่วโมง ใช้แทนกำลังคนได้มาก
3.มีความถูกต้องแม่นยำ ตามโปรแกรมสั่งงานและข้อมูลที่ใช้
4.เก็บข้อมูลได้มาก ไม่เปลืองเนื้อที่เก็บเอกสาร
5.สามารถโอนย้ายมูลจากเครื่องหนึ่งไปยังอักเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งผ่านระบบเครือข่ายได้อย่างรวดเร็ว ช่วยอำนวยความสะดวกในการใช้งาน
              ระบบคอมพิวเตอร์
หมายถึง กรรมวิธีที่คอมพิวเตอร์ทำการใดๆกับข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นประโยชน์ ตามความประสงค์ของผู้ใช้งานให้มากที่สุด เช่น ระบบเสียภาษี ระบบทะเบียนราษฎร์  ระบบทะเบียนการค้า ระบบเวช ระบบของโรงพยาบาล  เป็นต้น
       การเข้าถึงขอมูลเหล่านี้ สามารถเข้าถึงได้โดยการตรวจสอบจากการประมวลผลของระบบคอมพิวเตอร์ จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
        องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ จะประกอบด้วยส่วนสำคัญ 4 ส่วน ดังนี้
1.     ฮาร์แวร์  (Hardware) หรือส่วนเครื่อง
2.     ซอฟต์แวร์ (Software) หรือส่วนเครื่อง
3.     ข้อมูล Data
4.     บุคลากร People
ฮาร์แวร์ (Hardware) = ตัวเครื่องและอุปกณ์ส่วนต่างๆที่เราสามารถสัมผัสและจับต้องได้ ฮาร์ดแวร์ประกอบด้วยส่วนที่สำคัญ 4 ส่วน ดังนี้ คือ
1.       ส่วนประมวลผล (Processor)
2.       ส่วนความจำ (Memory)
3.       อุปกรณ์รับเข้าและส่งออก (lnput Outpot Devices)
4.       อุปกรณ์หน่วยเก็บข้อมูล (s.to

ส่วนที่ 1
         CPU  อุปกรณ์ฮาร์แวร์ที่เปรียบเสมือนสมอง มีหน้าที่ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ ประมวลผลและเปรียบเทียบข้อมูลโดยการเปลี่ยนแปลงข้อมูลดิบและให้เป็นสารสนเทศที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ความสามารถของ CPU นั้นพิจารณาจากความเร็วของการทำงาน การรับส่งข้อมูล อ่านเขียนข้อมูลในหน่วยความจำ ความเร็วของซีพียู ขึ้นอยู่กับตัวให้จังหวะที่เรียกว่า สัญญาณนาฬิกา เป็นความเร็วจำนวนรอบสัญญาณใน 1 วินาที เทียบกว่าความเร็วสัญญาณนาฬิกา 1 ลิกะเฮิร์ตซ์
ส่วนที่ 2 หน่วยความจำ (Memory)
1.       หน่วยความจำหลัก (Main Memory)
2.       หน่วยความจำสำรอง (Seconday Storage)
3.       หน่วยเก็บข้อมูล

1.       หน่วยความจำหลัก]
แบ่งได้ 2 ประเภท คือ หน่วยความจำแบบ แรม(Ram) และหน่วยความจำ แบบรอม(Rom)
1.1            หน่วยความจำแบบ แรม
(RAM = Random Access Memory) เป็นหน่วยความจำที่ต้องอาศักระแสความจำที่ใช้เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ข้อมูลที่ถาวรไม่ขึ้นกับไฟฟ้าที่ป้อนให้วงจร ยอมให้ใช้ชีพียูอ่านข้อมูลหรือโปรแกรมใช้งานอย่างเดียวไม่สามารถเขียนข้อมูลลงไปเก็บไว้ได้ง่าย ส่วนใหญ่ใช้เก็บโปรแกรมควบคุม เราเรียกหน่วยความจำประเภทนี้ว่า หน่วยความจำแบบไม่ลบเลือน
(Nonvolatile Memory)

2.       หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำชนิดนี้มีไว้สำรองหรือทำงานข้อมูลและโปรแกรมขนาดใหญ่ เนื่องจากขนาดของหน่วยความจำหลักมี จำกัด หน่วยความจำสำรองสามารถเก็บไว้  ได้หลายแบบ เช่น แผ่นทึก (Floppy Disk)
จานบันทึกแบบแข็ง (Hard Didk) แผ่นซีดีรอม (CD-ROM)จานแสงแม่เหล็ก



หน่วยความจำสำรอง (Secondary Memory Unit)
หน่วยความจำสำรอง หรือหน่วยเก็บข้อมูลรอง เป้นหน่วยเก็บที่สามารถรักษาข้อมูลได้ตลอดเวลาไปหลังจากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว
             หน่วยความจำสำรองมีหน้าที่หลักคือ
1.ใช้ในการเก็บข้อมูลหรือสำรองข้อมูลเพื่อใช้ในอนาคต
2.ใช้ในการเก็บข้อมูล โปรแกรมไว้อย่างถาวร
3.ใช้เป็นสื่อในการส่งผ่านข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง
         





    
   ประโยชน์ของหน่วยความจำสำรอง ...
        หน่วยความจำรองจะช่วยแก้ปัญหาการสูญหายของข้อมูลอันเนื่องมาจากไฟฟ้าดับเพราะข้อมูลต่างๆที่ส่งเข้ามาประมวลผล เมื่อเรียบร้อยแล้ว ผลลัพธ์ที่ได้จะถูกนำไปเก็บในความจำหลักประเภทแรม หากปิดเครื่องหรือมีปัญหาทางไฟฟ้า อาจทำให้ข้อมูลสูญหายจึงจำเป็นต้องมีหน่วยความจำรอง เพื่อนำข้อมูลจากหน่อยความจำแรมมาเก็บไว้ใช้งานในครั้งต่อไป หน่วยความจำประเถทนี้ส่วนใหญ่จะพบในรูปของสื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลภายนอก เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นบันทึก ซิปดิสก์ ซีดีรอม ดีวีดี เทปแม่เหล็กหน่วยความจำแบบแฟลช หน่วยความจำรองนี้ ถึงจะไม่มีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่เครื่องคอมพิวเตอร์ก็ยังสามารถทำงานได้ปกติ  

 ส่วนแสดงผลข้อมูล
               
ส่วนแสดงผลข้อมูล   คือส่วนที่แสดงข้อมูลจากสัญญาณไฟฟ้าในหน่วยประมวลผลกลางให้เป็นรูปแบบที่คนเราสามารถเข้าใจได้  อุปกรณ์ที่แสดงผลข้อมูลได้แก่  จอภาพ (Monitor)  เครื่องพิมพ์(Printer)  เครื่องพิมพ์ภาพ Ploter  และ ลำโพง (Speaker)  เป็นต้น

    



บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ (PEOPLEWARE)
            บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง คนที่มีความรู้ความสามารถในการใช้หรือควบคุมให้การใช้คอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างราบรื่น อาจจะประกอบด้วยคนเพียงคนเดียวหรือหลายคนช่วยกันรับผิดชอบ โครงสร้างของหน่วยงานคอมพิวเตอร์


 ประเภทของบุคลากรทางคอมพิวเตอร์  (PEOPLEWARE)                                                                     1. ฝ่ายวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
2. ฝ่ายเกี่ยวกับโปรแกรม
3. ฝ่ายปฏิบัติงานเครื่องและบริการ 
บุคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์ 
1. หัวหน้าหน่วยงานคอมพิวเตอร์ (EDP Manager)
2. หัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์และวางแผนระบบงาน (System Analyst หรือ SA)
3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer)
4. ผู้ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ (Computer Operator)
5. พนักงานจัดเตรียมข้อมูล (Data Entry Operator)


ซอฟต์แวร์ (SOFTWARE)
ซอฟต์แวร์ หมายถึง ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จึงหมายถึง ลำดับขั้นตอนการทำงานที่เขียนขึ้นด้วยคำสั่งของคอมพิวเตอร์ คำสั่งเหล่านี้เรียงกันเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จากที่ทราบมาแล้วว่าคอมพิวเตอร์ทำงานตามคำสั่ง การทำงานพื้นฐานเป็นเพียงการกระทำกับข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสอง ซึ่งใช้แทนข้อมูลที่เป็นตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือแม้แต่เป็นเสียงพูดก็ได้ ซอฟต์แวร์นั้น นอกจากจะสามารถใช้งานบนคอมพิวเตอร์ได้แล้ว ยังสามารถใช้งานบนเครื่องใช้ หรืออุปกรณ์อื่น เช่น โทรศัพท์มือถือ หรือ หุ่นยนต์ในโรงงาน หรือ เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ
       
            หน้าที่ของซอฟแวร์
ซอฟแวร์ ทำหน้าที่เป็นตัวต่อเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์
            ประเภทของซอฟแวร์  มี ประเภท คือ
1.ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) คือซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบ หน้าที่การทำงานของซอฟต์แวร์ระบบคือดำเนินงานพื้นฐานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระแล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ นำข้อมูลไปแสดงผลบนจอภาพหรือนำออกไปยังเครื่องพิมพ์ จัดการข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูลบนหน่วยความจำรอง เมื่อเราเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ทันทีที่มีการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์จะทำงานตามโปรแกรมทันที โปรแกรมแรกที่สั่งคอมพิวเตอร์ทำงานนี้เป็นซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ระบบอาจเก็บไว้ในรอม หรือในแผ่นจานแม่เหล็ก หากไม่มีซอฟต์แวร์ระบบ คอมพิวเตอร์จะทำงานไม่ได้ 
                  ประเภทของซอฟแวร์ระบบ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
     1. ระบบปฏิบัติการ  OS (Operating System) คือ โปรแกรมระบบที่ทำหน้าที่ควบคุมการใช้งานส่วนต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น ควบคุมหน่วยความจำ ควบคุมหน่วยประมวลผล ควบคุมหน่วยรับและควบคุมหน่วยแสดงผล ตลอดจนแฟ้มข้อมูลต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพในการทำงานสูงที่สุด และสามารถใช้อุปกรณ์ทุกสาวนของคอมพิวเตอร์และช่วยจัดการกระบวนการพื้นฐานที่สำคัญ ๆ ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่นการเปิด หรือปิดไฟล์ การสื่อสารกันระหว่างชิ้นส่วนต่าง ๆ ภายในเครื่อง การส่งข้อมูลออกสู่เครื่องพิมพ์หรือสู่จอภาพ เป็นต้น ก่อนที่คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะสามารถอ่านไฟล์ต่าง ๆ หรือสามารถใช้ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ได้จะต้องผ่านการดึงระบบปฏิบัติการออกมาฝังตัวอยู่ในหน่าวความจำก่อน ปัจจุบันนี้มีโปรแกรมระบบบอยู่หลายตัวด้วยกันซึ่งแต่ละตัวนั้นก็เป็นโปรแกรมระบบปฏิบัติการเหมือนกัน แต่ต่างกันที่ลักษณะการทำงานจะไม่เหมือนกัน เช่น ดอส วินโดวสื ยูนิกซ์ ลีนุกซ์ และแมคอินทอช เป็นต้น  
                  DOS (Disk operating System) เป็นระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมาตั้งแต่ในอดีตออกมาพร้อมกับเครื่องพีซีของไอบีเอ็มรุ่นแรก ๆ จากนั้นก็มีการพัฒนารุ่นใหม่ออกมาเรื่อย ๆ จนกระทั่งถึงเวอร์ชั่นสุดท้ายคือ เวอร์ชั่น 6.22 หลังจากที่มีการประกาศใช้วินโดวส์95 ก็คงจะไม่ผลิต DOS เวอร์ชชั่นใหม่ออกมาแล้ว โดยทั่วไปจะนิยมใช้วินโดวส์ 3. x ซึ่งถือว่าเป็นโปรแกรมเสริมชนิดหนึ่งที่ใช้ในดอส 
                   UNIX เป็นระบบ OS ที่สามารถใช้ร่วมกันได้หลายคน (Multiuser) หรือเป็นระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย โดยที่ผู้ใช้แต่ละคนจะต้องมีชื่อและพาสเวิร์ดส่วนตัว และสามารถเชื่อมโยงถึงกันได้ทั่วโลก โดยผ่านทางสายโทรศัพท์และมี Modem เป็นตัวกลางในการรับส่งข้อมูลหรือโอนย้ายข้อมูล นิยมใช้อย่างแพร่หลายในมหาวิทยาลัย หน่วยงานรัฐบาล หรือบริษัทเอกชนที่มีระบบคอมพิวเตอร์ใหญ่ ๆ ใช้ ในระบบยูนิกซ์เองก็มีวินโดวส์อีกชนิดหนึ่งใช้เรียกว่า X Windows สำหรับผู้ที่ต้องการใช้ระบบยูนิกซ์ในเครื่องพีซีที่บ้านก็มีเวอร์ชั่นสำหรับพีซีเรียกว่า Linux ซึ่งจะมีคำสั่งพื้นฐานคล้าย ๆ กับระบบยูนิกซ์ 

                   WINDOWS เป็นระบบปฏิบัติการที่กำลังนิยมใช้กันมากในปัจจุบัน ซึ่งพัฒนามาถึงรุ่น Windows 2000 แล้ว บริษัทไมโครซอฟต์ได้เริ่มประกาศใช้ MS Windows 95 ครั้งแรกเมื่อ 24 สิงหาคม ค.ศ.1995 โดยมีความคิดที่ว่าจะออกมาแทน MS-DOS และ วินโดวส์3. X ที่ใช้ร่วมกันอยู่ ลักษณะของวินโดวส์ 95 จึงคล้ายกับเป็นระบบโอเอสที่มีทั้งดอสและวินโดวส์อยู่ในตัวเดียวกัน แต่เป็นวินโดวส์ที่มีลักษณะพิเศษกว่าวินโดวส์เดิม เช่น มีคุณสมบัติเป็น Plug and play ซึ่งสามารถจะรู้จักฮาร์ดแวร์ต่าง ๆ ที่ติดตั้งอยู่ในเครื่องได้โดยอัตโนมัติ มีลักษณะเป็นระบบ 32 บิต ในขณะที่วินโดวส์ เดิมเป็นระบบ 16 บิต เป็นต้น บริษัทไมโครซอฟต์ไม่ได้หยุดเพียงแค่วินโดวส์ 95 แต่ได้มีการพัฒนาเพิ่มฟังก์ชันใหม่ ๆ เข้าไป ในที่สุดก็ออกระบบโอเอสตัวถัดมาเป็น MS Windows 98 และ MS Windows 2000ตามลำดับโดยที่มีการติดตั้ง และการใช้งานที่มีพื้นฐานไม่แตกต่างกันมากนัก จึงง่ายสำหรับผู้ใช้ในการปรับตัวเข้ากับระบบโอดอสใหม่ ๆ
 
2.ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ ที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง ปัจจุบันมีผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ใช้งานทางด้านต่าง ๆ ออกจำหน่ายมาก การประยุกต์งานคอมพิวเตอร์จึงกว้างขวางและแพร่หลาย เราอาจแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกเป็นสองกลุ่มคือ ซอฟต์แวร์สำเร็จ และซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้งานเฉพาะ ซอฟต์แวร์สำเร็จในปัจจุบันมีมากมาย เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำ ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน ฯลฯ 

ประเภทของซอฟแวร์ประยุกต์
แบ่งตามกลุ่มการาใช้งาน จำแนกได้ กลลุ่มใหญ่
            1. กล่มการใช้งานด้านธุรกิจ
            2.กล่มการใช้งานด้านกราฟฟิกและมัลติมีเดีย
            3.กล่มการใช้งานด้านใช้งานบนเว็บ
1.กลุ่มการใช้งานด้านธุรกิจ            ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ ถูกนำมาใช้โดยมุ่งหวังให้การทำงานมีประสิทธิภาพมาขึ้น เช่นการจัดพิมพ์รายงานเอกสาร และการบันทึกนัดหมายต่างๆ
 ตัวอย่าง เช่น โปรแกรมประมวลผปล อาทิ microsoft word; sun
โปรแกรมตกแต่งภาพ อาทิ coreldraw
โปรแกรมตัดต่อ วีดีโอและเสียง อาทิ adode premiere,pinnacle studio dv
โปรแกรมสร้างสื่อมัติมิเดีย อาทิ Adode authorware,
โปรแกรมสร้างเว็บ อาทิ adode flash,adode  Dreamweaver
กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสารเมื่อเกิดการเติบโตของเครื่อข่ายอินเทอร์เน็ตซอฟแวร์กล่มนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะเพิ่มมากขึ้น เช่น โปรแกรมการตรวจเช็คอีเมลการท่องเว็บไซต์การจัดการดูแลเว็บ
โปรแกรมส่งข้อความด่วน
โปรแกรมสนทนาบนอินเทอร์เน็ต

ความจำเป็นของการใช้ซอฟแวร์การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมากเพราเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอักษร

ซอฟแวร์และภาษาคอมพิวเตอร์เมื่อมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงานมนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบคอมพิวเตอร์รับรู้ และทำงานได้อย่างถูกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลาง ถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวันแล้ว

ภาษาเเอสเซมบลีเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 2 ถัดจากภาษาเครื่องภาษาแอสเซมบลีช่วยการเขียนโปรแกรมที่มันยุ่งยากในการเขียนคอมพิวเตอร์
แต่อย่างไรก็ตามภาษาแอสเซมบรีก็ยังมีความใกล้เคียงภาษา

ภาษาระดับสูงเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุกที่ 3 เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า statements  ที่มีลักษณะเป็นประโยคภาษาอังกฤษ ทำให้ผู้ที่เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุดคำสั่งให้คอม พิวเตอร์ ทำงานง่ายขึ้น ผู้คนทั่วไปสามารถเรียนรู้และ เขียยนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น
คอมไพเลอร์ และ อินเอร์พรีเตอร์

คอมไพเลอร์ จะทำหการแปลโปรแกรมที่มีเขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้ป็นภาษาเครื่องก่อนแล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานเครื่องก่อน

อินเอร์พรีเตอร์
 จะทำหน้าที่การ้เปลี่ยนแปลงทีละคำสั่งแล้วให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่ง
คอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร์
                คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องมืออุปกรณ์อิล็กทรอนิกที่ทำงานด้วยคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือโปรแกรมต่างๆ
                ส่วนประกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์
1. หน่วยรับข้อมูลเข้า (Input Unit) ทำหน้าที่ป้อนสัญญาณเข้าสู่ระบบ เพื่อกำหนดให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ได้แก่
-แป้นอักขระ (Keyboard)
-แผ่นซีดี
-ไมโครโฟน
2. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) CPU ทำหน้าที่คำนวณตรรกยะและคณิตศาสตร์ รวมถึงการประมวลผลข้อมูลตามคำสั่งที่ได้รับ
3. หน่วยความจำ (Memory Unit) ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่งที่ส่งมาจากหน่วยรับข้อมูล เพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลกลาง และเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล เพื่อเตรียมส่งไปยังหน่วยแสดงผล
4. หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทำหน้าที่แสดงข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล หรือผ่านการคำนวณแล้ว
5. อุปกรณ์ต่อพวงอื่นๆ (Peripheral Equipment) เป็นอุปกรณ์ที่นำมาต่อพ่วงเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้มากยิ่งขึ้น เช่น (โมเดม Modem) แผ่นวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย
                ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
 1. มีความเร็วในการทำงานสูง
        2.มีประสิทธิภาพในการทำงาน
        3. มีความถูกต้องแม่นยำ
        4.เก็บข้อมูลได้มาก
  5. สามารถโอนย้ายข้อมูลจากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งได้
                ระบบคอมพิวเตอร์ หมายถึง กรรมวิธีที่คอมพิวเตอร์ทำการใดๆกับข้อมูล ให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นประโยชน์ ตามความประสงค์ของผู้ใช้งานให้มากที่สุด เช่น ระบบเสียภาษี
                องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
             1.ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หรือส่วนเครื่อง
            2.ซอฟร์แวร์ (Software) หรือส่วนชุดคำสั่ง
            3.ข้อมูล (Data)
            4. บุคลากร (People)
 ฮาร์ดแวร์ หมายถึง ตัวเครื่องและอุปกรณ์ที่สัมผัสจับต้องได้
1.1.  ส่วนประมวลผล
1.2.  ส่วนความจำ
1.3.  อุปกรณ์รับเข้าและส่งออก
1.4.  อุปกรณ์หน่วยเก็บข้อมูล
·       ส่วนประมวลผล CPU เป็นอุปกรณ์ฮาร์แวร์ที่เปรียบเสมือนสมอง ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ ประมวลผลและเปรียบเทียบข้อมูล
·       ส่วนหน่วยความจำ (Memory) มี 3 ประเภท คือ
1.หน่วยความจำหลัก คือ
                1.1 แรม RAM (Random Access Memory) เป็นความจำที่ต้องอาศัยกระแสไฟฟ้าเพื่อรักษาข้อมูล ลบเลือนได้
                1.2 รอม ROM (Read Only Memory) เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เรียกว่า หน่วยความจำไม่ลบเลือน
2.หน่วยความจำสำรอง
                มีไว้สำรองหรือทำงานเก็บข้อมูลและโปรแกรมขนาดใหญ่ สามารถเก็บไว้ได้หลายแบบ เช่น แผ่นบันทึกแบบแข็ง แผ่นซีดีรอม
3.หน่วยเก็บข้อมูล

 2. ตัวแปลภาษา
          การพัฒนาซอฟต์แวร์ต้องอาศัยซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูงเพื่อแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง ภาษาระดับสูงมีหลายภาษาซึ่งสร้างขึ้นให้ผู้เขียนโปรแกรมเขียนชุดคำสั่งได้ง่าย เข้าใจได้เพื่อสามารถปรับปรุงแก้ไขซอฟต์แวร์ในภายหลังได้

          ภาษาระดับสูงที่พัฒนาขึ้นทุกภาษาต้องมีตัวแปลภาษา ซึ่งได้แก่ ภาษา Basic , Pascal , C และภาษาโลโก้เป็นต้น
นอกจากนี้ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ทึ่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันอีกได้แก่ Fortran Cobol และภาษา อาร์ฟีจี
 2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ Application Software
ซอฟต์แวร์ที่ใช้ทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ทำงานเฉพาะด้าน เช่น การจัดพิมพ์รายงาน การนำเสนอ การจัดทำบัญชี การตกแต่งภาพ หรือการออกแบบเว็บไซต์ เป็นต้น
 ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์ แบ่งตามลักษณะการผลิต จำแนกได้เป็น 2 ประเภท
     1. ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ Proprietary  Software
      2.ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้ทั่วไป Packaged Software มีทั้งโปรแกรมเฉพาะCustomized Package และ โปรแกรมมาตรฐาน Standard  Package
แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน จำแนกได้ 3 กลุ่มใหญ่ๆ
    1. กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ Business
    2. กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิก และ มัลติมีเดีย Graphic and Multimedia
    3 กลุ่มใช้งานบนเว็บ Web and Communications

 1.กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ Business
        ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ถูกนำมาใช้โดยมุ่งหวังในการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การจัดพิมพ์ รายงานเอกสาร นำเสนอผลงานและการบันทึกนัดหมายต่างๆ ตัวอย่างเช่น
-
 โปรแกรมประมวลคำ อาทิ Microsoft Word Sun Star office Writer
- โปรแกรมตารางคำนวณ อาทิ  Microsoft Excel , Sun Star office Cale
 -โปรแกรมนำเสนอผลงาน อาทิ Microsoft Power Point Sun Star office Impress
      2. กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิก และ มัลติมีเดีย Graphic and Multimedia
  ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยจัดการด้านงานกราฟิกและมัลติมีเดียเพื่อให้อ่านง่ายขึ้น เช่น ใช้ตกแต่ง วาดรูป ปรับเสียง ตัดต่อ ภาพเคลื่อนไหวและการสร้างและออกแบบเว็บไซต์ ตัวอย่างเช่น
-โปรแกรมงานออกแบบ อาทิ Microsoft Visio Professional
-โปรแกรมตกแต่งภาพ อาทิ CorelDraw , Adobe Photoshop
-โปรแกรมตัดต่อวิดีโอและเสียง อาทิ Adobe premiere , Pinnacle Studio DV
-โปรแกรมสร้างสื่อมัลติมีเดีย อาทิ Adobe Author ware , Tool book  Instructor , Adobe Director
-โปรแกรมสร้างเว็บ อาทิ Adobe Flash , Adobe Dreamweaver
        3.กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
   เมื่อเกิดการเติบโตของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซอฟต์แวร์กกลุ่มนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้น เพื่อใช้งานเฉพาะเพิ่มมากขึ้น เช่น โปรแกรมการตรวจเช็ดอีเมล์ การท่องเว็บไซค์ การจัดการดูแลเว็บ การจัดการดูแลเว็บ ตัวอย่างโปรแกรมในกลุ่มนี้ได้แก่
   -โปรแกรมจัดการอีเมล์ อาทิ Microsoft outlook , Mozzila Thunderbird
- โปรแกรมท่องเว็บ อาทิ Microsoft Internet Explorer , Mozzila Firefox
-โปรแกรมประชุมทางไกล Video conference อาทิ  Microsoft Net meeting
-โปรแกรมส่งข้อความด่วน Instant Messaging อาทิ MSN Messenger / Window Messenger , ICQ
-โปรแกรมสนทนาบนอินเตอร์เน็ต อาทิ PIRCH , MIRCH
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
  การใช้ภาษาคล่องนี้แม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมากเพราะเข้าใจจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอักษรเป็นประโยคข้อความภาษาในลักษณะดังกล่าวนี้เรียกว่าภาษา คอมพิวเตอร์ระดับสูง ภาษาระดับสูงมีอยูมากมายบางภาษามีความเหมาะสมกับการใช้ส่งงานการคำนวณทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางด้านการจัดการข้อมูล
  ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
    การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมากเพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอักษร
 ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
     เมื่อมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการงาน มนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบที่บอกสิ่ง ที่มนุษย์เข้าใจให้คอมพิวเตอร์รับรู้และทำงานได้อย่างถูกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้ เรียกว่าภาษาคอมพิวเตอร์
  ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุคประกอบด้วยภาษาเครื่อง Machine Languages เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้าใช้แมนตัวเลข 0 และ 1 ได้ผู้ออกแบบทางคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข 0 และ 1 นี้เป็นหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ รหัสแทนข้อมูลและคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่งและใช้ส่งงานคอมพิวเตอร์มากกว่าภาษาเครื่อง
   ภาษาแอสเซมบลี Assembly Languages
        เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 2 ถัดจากภาษาเครื่องและภาษาแอสเซมบลีช่วยลดความยุ่งยากลงในการเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพิวเตอร์  ภาษาแอสเซมบลีก็ยังคงมีความใกล้เคียงภาษาเครื่องอยู่มากและจำเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษา

ภาษาระดับสูง High – Level Languages 
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 3 เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า Statement ที่มีลักษณะเป็นประโยคภาษาอังกฤษ ทำให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเรียนรู้และสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น
ภาษาระดับสูงมีอยู่ 2 ชนิด คือ
 คอมไพเลอร์ Compiler และ อินเทอร์พรีเตอร์ Interpreter
 - คอมไพเลอร์ จะทำการแปลโปรแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อนแล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น
  - อินเทอร์พรีเตอร์  จะทำการแปลที่ละคำสั่งแล้วให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้น เมื่อทำเสร็จแล้วจึงมาทำการแปลคำสั่งลำดับต่อไป
 ข้อแตกต่าง   ระหว่างคอมไพเลอร์กับอินเทอร์พรีเตอร์จึงอยู่แปลโปรแกรมหรือแปลทีละคำสั่ง

    
      โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
           ระบบ Network และ Internet
     ระบบสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของเครือข่าย 3 ประเภท
1.ฮาร์ดแวร์ hardware
-คอมพิวเตอร์
-เซอร์เวอร์ Serwer
-ฮับ Hub
-บริดจ์
-เราท์เตอร์
-เกดเวย์
-โมเด็ม
-เน็ตเวอร์กการ์ด
2.ซอฟต์แวร์ Software
-โปรแกรมประยุกต์
-โปรแกรมปฎิบัติการ
3.ตัวนำข้อมูล Media
-สายโคแอกเซียล
-สายคู่บิดเกลียว  หุ้มฉนวน  STP
-สายคู่บิดเกลียว  ไม่หุ้ม UTP
-ใยแก้วนำแสง  Fiber Optic  Cable

การทำงานของระบบ Network และ Internet
โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1.เครือข่ายเฉพาะที่ ( Local Area Network : LAN )
  เป็นเครือข่ายที่มักพบเห็นกันในองค์กรส่วนใหญ่ลักษณะของการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นวง LAN  จะอยู่ในพื้นที่ใกล้ๆ กัน เช่น  อยู่ภายในอาคาร  หรือหน่วยงานเดียวกัน

2.เครือข่ายเมือง (Metropolitan Area Network :MAN
  เป็นกลุ่มของเครือข่าย LAN ที่นำมาเชื่อมต่อกันเป็นวงใหญ่ขึ้น  ภายในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียงกัน
3.เครือข่ายบริเวณกว้าง ( Wind Area Network :WAN )
  เป็นเครือข่ายที่ใหญ่ขึ้นไปอีกระดับ  โดยเป็นการรวมเครือข่ายทั้ง LAN และMAN  มาเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายเดียว  ดังนั้นเครือข่ายนี้จึงครอบคลุมไปทั่วประเทศ  หรือทั่วโลก  เช่น อินเตอร์เน็ต  ซึ่งถือเป็นเครือข่ายสาธารณะที่ไม่มีใครเป็นเจ้าของ
-                   การทำงานของระบบ Network  และ  Internet
-                   รูปแบบโครงสร้างของเครือข่ย  ( Network Topology)
  การจัดระบบการทำงานของเครือข่าย  มีรูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย  อันเป็นการจัดวางคอมพิวเตอร์และการเดินสายสัญญารคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายรวมถึงหลักการไหลเวียนข้อมูลในเครือข่ายด้วย  โดยแบ่งโครงสร้างเครือข่ายหลักได้  4  แบบ  คือ
-เครือข่ายแบบดาว
-เครือข่ายแบบวงแหวน
-เครือข่ายแบบบัส
-เครือข่ายแบบต้นไม้
-แบบดาว    เป็นการต่อสายเชื่อมโยงโดยการนำสถานีต่างๆ มาต่อร่วมกันกับหน่วยสลับสายกลาง  การติดต่อสื่อสารระหว่างสถานีจะกระทำได้ด้วยการติดต่อผ่านทางวงจรของหน่วยสลับสายกลาง  การทำงานของหน่วยสลับสายกลางจึงคล้ายกับศูนย์
  เป็นการเชื่อมโยงการติดต่อสื่อสารที่มีลักษณะคล้ายรูปดาวหลายแฉก  โดยมีสถานีกลาง  หรือฮับ  ป็นจุดผ่านทางการติดต่อกันระหว่างทุกโหนดในเครือข่าย  สถานีกลางจึงมีหน้าที่เป็นศูนย์ควบคุมเส้นทางการสื่อสารทั้งหมด  นอกจากนี้สถานีกลางยังทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางคอยจัดส่งข้อมูลให้กับโหนดปลายทางอีกด้วย  การสื่อสารภายในเครือข่ายแบบดาว  จะเป็นแบบ 2 ทิศทางโดยจะอนุญาตให้มีเพียงโหนดเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลเข้าสู่เครือข่ายได้  จึงไม่มีโอกาสที่หลายๆโหนดจะส่งข้อมูลเข้าสู่เครือข่ายในเวลาเดียวกัน

-แบบวงแหวน    เป็นแบบที่สถานีของเครือข่ายทุกสถานีจะต้องเชื่อมต่อกับเครื่องขยายสัญญานของทุกสถานีเข้าด้วยกันเป็นวงแหวน  มีหน้าที่ในการรับข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ของตัวเองหรือจากเครื่องขายาสัญญานตัวก่อนหน้าและส่งข้อมูลต่อไปยังเครื่องขยายสัญญานตัวถัดไปเรื่อยๆ เป็นวง
-แบบบัส    เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ  ด้วยสายเคเบิ้ลยาว  ต่อเนื่องไปเรื่อยๆ  โดยจะมีอุปกรณืที่เป็นตัวเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เข้ากับสายเคเบิ้ล  ในการส่งข้อมูล  จะมีคอมพิวเตอรารถส่งข้อมูลได้ในช่วงเวลาหนึ่งๆ  การจัดส่งข้อมูลวิธีนี้จะต้องกำหนดวิธีการ  ที่จะไม่ให้ทุกสถานีส่งข้อมูลพร้อมกัน  เพราะจะทำให้ข้อมูลชนกัน  วิธีการอาจแบ่งเวลาหรือให้แต่ละสถานีใช้ความถี่  สัญญาณที่แตกต่างกัน  ในการติดตั้งเครือข่ายแบบบัสนี้  คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์แต่ละชนิด  ถูกเชื่อมต่อด้วยสายเคเบิ้ล
   อุปกรณ์ทุกชิ้นหรือโหนดทุกโหนด  ในเครือข่ายจะต้องเชื่อมโยงเข้ากับสายสื่อสารหลักที่เรียกว่า  “บัส”  เมื่อโหนดหนึ่งต้องการจะส่งข้อมูลไปให้ยังอีกโหนดหนึ่งภายในเครือข่าย
-แบบต้นไม้    เป็นเครือข่ายที่มีการผสมผสานโครงสร้างของเครือข่ายแบบต่างๆเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่  การจัดส่งข้อมูลสามารถส่งไปถึงได้ทุกสถานี  การสื่อสารข้อมูลจะผ่านตัวกลางไปยังสถานีอื่นๆ  ได้ทั้งหมด  เพราะทุกสถานีจะอยู่บนทางเชื่อม  รับส่งข้อมูลเดียวกัน



        การประยุกต์ใช้งานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

-ระบบเครือข่ายทำให้เกิดการสื่อสาร
-รูปแบบการใช้งานของระบบคอมพิวเตอร์
   ระบบเครือข่ายแบ่งตามลักษณะการทำงาน  ได้เป็น  3  ประเภท  คือ
1.ระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลาง  (Centrallized  Networks)
2.ระบบเครือข่ายแบบ  Peer-to  Peer
3.ระบบเครือข่ายแบบ  Client/Server
    แบบรวมศูนย์กลาง       เป็นระบบที่มีเครื่องหลักเพียงเครื่องเดียวที่ใช้ในการประมวลผล  ตั้งอยู่ที่ศูนย์กลางและมีการเชื่อมต่อไปยังเครื่องเทอร์มินอลที่อยู่รอบๆ  ใช้การเดินสายเคเบิ้ลเชื่อมต่อกันโดยตรง  เพื่อให้เครื่องเทอร์มินอลสามารถเข้าใช้งาน  โดยส่งคำสั่งต่างๆ  มาประมวลผล
    แบบ  Peer-to  Peer      แต่ละสถานีงานบนระบบเครือข่าย แบบ  Peer-to  Peer  จะมีความเท่าเทียมกันสามารถที่จะแบ่งปันทรัพยากรให้แก่กันและกันได้  เช่น  การใช้เครื่องพิมพ์หรือแฟ้มข้อมูลร่วมกันในเครือข่าย  เครื่องแต่ละสถานีงานมีขีดความสามรถในการทำงานได้ด้วยตัวเอง  คือจะต้องมีทรัพยากรภายในของตัวเอง  เช่น  ดิสก์สำหรับเก็บข้อมูล  หน่วยความจำที่เพียงพอ  และมีความสามารถในการประมวลผลข้อมูลได้
   แบบ  Client/Server    สามารถสนับสนุนให้มีเครื่องลูกข่ายได้เป้นจำนวนมาก  และสามารถเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้หลายสถานี  ทำงานโดยมีเครื่องServer  ที่ให้บริการเป็นศูนย์กลางอย่างน้อย 1 เครื่อง  และมีการบริหารจัดการทรัพยากรต่างๆ  จากส่วนกลาง  ซึ่งคล้ายกับระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลาง  แต่สิ่งที่แตกต่างกันก็คือ  เคื่องที่ทำหน้าที่ให้บริการในระบบ Client/Server  ราคาไม่แพงมาก  ซึ่งอาจใช้เพียงเครื่องไมโครคอมพิวเตอรืสมรรถนะสูงในการควบคุมการให้บริการทรัพยากรต่างๆ
    นอกจากนี้เครื่องลูกข่ายยังจะต้องมีความสามารถในการประมวลผล  และมีหน้าที่สำหรับจัดเก็บข้อมูลท้องถิ่นเป็นของตนเอง
  ระบบเครือข่ายแบบ Client/Server       เป็นระบบที่มีความยืดหยุ่นสูง  สนับสนุนการทำงานแบบ  Multiproocessor สามารถเพิ่มขยายขนาดของจำนวนผู้ใช้ได้ตามต้องการ  นอกจากนี้ยังสามารถเพิ่มจำนวนผู้ใช้ได้มาก  ข้อเสียคือ  ยุ่งยากในการติดตั้งมากกว่าระบบ  Peer-to  Peer